[x] ปิดหน้าต่างนี้
Powered by ATOMYMAXSITE 2.5
www.http://t4watnop.ac.th/
ยินดีต้อนรับคุณ บุคคลทั่วไป  
English Chinese (Simplified) Chinese (Traditional) French German Italian Japanese Korean Portuguese Russian Spanish Vietnamese Thai     
ค้นหา   
เมนูหลัก
ระบบสมาชิก
Username :
Password :
[ สมัครสมาชิก ] | [ ลืมรหัสผ่าน ]
สมาชิกทั้งหมด 8 คน
สมาชิกที่กำลังออนไลน์ 0 คน
ฝากข้อความ
ชื่อ :
ข้อความ

Close
:) :D :(
:o :p ;)
:| x( :~
(ตัวแสดงอารมณ์)

poll

   คุณคิดว่าเวปนี้เป็นอย่างไร


  1. ดีมาก
  2. ดี
  3. ปานกลาง
  4. แย่
  5. แย่มาก



  

งานวิจัยการศึกษา
    เรื่อง : การศึกษาผลการใช้แบบฝึกทักษะ เพื่อพัฒนาการคิดวิเคราะห์โดยใช้เทคนิค 5W1H กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ วิชาภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทศบาล ๔ วัดนพวงศาราม อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี

เจ้าของผลงาน : นางสาวสุรีย์ ศิริโกศล
จันทร์ ที่ 29 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2559
เข้าชม : 2089    จำนวนการดาวน์โหลด : 0 ครั้ง
5 stars เฉลี่ย : 5 จาก 1 ครั้ง.

บทคัดย่อ :
ชื่องานวิจัย           การศึกษาผลการใช้แบบฝึกทักษะ เพื่อพัฒนาการคิดวิเคราะห์โดยใช้เทคนิค 5W1H  กลุ่มสาระการเรียนรู้
                           ภาษาต่างประเทศ วิชาภาษาอังกฤษสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทศบาล ๔ วัดนพวงศาราม
                           อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี
ผู้วิจัย                    สุรีย์  ศิริโกศล
ปีการศึกษา            2558
 
                                                                                           บทคัดย่อ
               การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาแบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์โดยใช้เทคนิค 5W1H  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ วิชาภาษาอังกฤษ ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์  80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์โดยใช้เทคนิค 5W1H  หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน และ3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์โดยใช้เทคนิค 5W1H  กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/4 ปีการศึกษา 2558  โรงเรียนเทศบาล ๔ วัดนพวงศาราม อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี จำนวน 32 คน  ซึ่งไดมาจากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Simply) โดยมีแบบแผนการวิจัย คือ One Group Pretest - Posttest Design  เครื่องมือที่ใชในการวิจัยประกอบด้วย แบบฝึกทักษะ แผนการจัดการเรียนรู้  แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน  และแบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อแบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์โดยใช้เทคนิค 5W1H  วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและ ค่า t-test 
ผลการวิจัยพบว่า
    1. แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์โดยใช้เทคนิค 5W1H  สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 82.81/83.44
    2.  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์โดยใช้เทคนิค5W1H  หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05
    3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์โดยใช้เทคนิค 5W1H ในระดับมากที่สุด 



งานวิจัยการศึกษา 5 อันดับล่าสุด

      การพัฒนารูปแบบการนิเทศเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูเพื่อส่งเสริมการคิดของนักเรียน โดยใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สำหรับโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองปัตตานี 24/ส.ค./2565
      การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมครูเพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21 ที่ส่งเสริมสมรรถนะครูด้าน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองปัตตานี 24/ส.ค./2565
      ผลการจัดกิจกรรมกลางแจ้งโดยใช้เกมการละเล่นแบบกลุ่มเพื่อเสริมสร้างพัฒนาการด้านร่างกายของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 5/ม.ค./2565
      สื่อการสอนยูทูป Proj14 ป.2 ของสสวท.กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ 22/พ.ย./2564
      การพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมในการบริหารงานกิจการนักเรียนของโรงเรียนเทศบาล 4 วัดนพวงศาราม สังกัดเทศบาลเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี 6/พ.ย./2564


กำลังแสดงหน้าที่ 1/0 ->
<< 1 >>



ชื่อ/Email :
ใส่รหัสที่ท่านเห็นลงในช่องนี้
ความคิดเห็น :


กรุณาใช้คำพูดที่สุภาพ และอย่าใช้คำพูดที่พาดพิงถึงบุคคลอื่นให้เสียหาย ขอขอบคุณที่ให้ความร่วมมือ


ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของระบบไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม กรุณาแจ้งที่ nanajungt4@gmail.com เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป